.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
2 รหัส ค 32101 (ภาคเรียนที่ 2)
. _ . _ . _ . _ . _ . _ . _ . _ . _ . _ . _ . _ . _ . _
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( เลขหลัก )
บทที่ 1. ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
1. สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
2. ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
3. บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
1. จำนวนตรรกยะ
2. จำนวนอตรรกยะ
3. รากที่สอง
4. รากที่สาม
บทที่ 3. การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1. ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
2. การนำไปใช้
บทที่ 4. เส้นขนาน
1. เส้นขนานและมุมภายใน
2. เส้นขนานและมุมแย้ง
3. เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน
4. เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
คณิตศาสตร์เสริม ( เลขเสริม )
บทที่ 1. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
1. การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจง
2. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว
3. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์
4. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
บทที่ 2. สมการกำลังสองตัวแปรเดียว
1. สมการกำลังสองตัวแปรเดียว
2. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
บทที่ 3. การแปรผัน
1. การแปรผันตรง
2. การแปรผกผัน
3. การแปรผันเกี่ยวเนื่อง
. _ . _ . _ . _ . _ . _ . _ . _ . _ . _ . _ . _ . _ . _
บทที่ 1. ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ในวิชาคณิตศาสตร์ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส แสดงความสัมพันธ์ระหว่างด้านทั้งสามของสามเหลี่ยมมุมฉาก ในแง่ของพื้นที่ ดังนี้
ในสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ
พื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด้านเป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก
เท่ากับผลรวมพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด้านเป็นด้านประชิดมุมฉากของสามเหลี่ยมมุมฉากนั้น
|
ทฤษฎีบทดังกล่าวสามารถเขียนเป็นสมการสัมพันธ์กับความยาวของด้าน a, b และ c ได้
ซึ่งมักเรียกว่า สมการพีทาโกรัส คือ
โดยที่ c เป็นความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก
และ a และ b เป็นความยาวของอีกสองด้านที่เหลือ
.
.
.
ศึกษาเพิ่มเติม..
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น